午前7時に起床して、ヂュラーロンゴーン大学文学部ボロムマラーチャグマーリー館7階のカフェテリアで新聞記事の要約をした。早起きは億劫だけど、自分の部屋では勉強する気になれないから仕方ない。昨晩エーンに選んでもらった記事は次のとおり。
新世代のタイ文字 「モヤシの頭を断固として否定する」 イケてる若者の書体
(マティチョン紙2002年9月25日付から引用)
こどもたちの手書き文字は歪んでおり、書き出しの円形部分が大きすぎるか小さすぎる。これについていろいろと意見はあるが、国際化教育に取り組んでいる教師たちは「新種のタイ文字は読みにくくて暖かみがない」と嘆く。
เสียงสะท้อนนี้ แม้แต่ อาจารย์สุกัญญา สุจฉายา ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มองว่าเป็นเรื่องของแฟชั่นเด็กๆ เขา ที่มักชอบเขียนหนังสือไม่ถูก บอกว่าเป็นการสร้างความแปลกให้เป็นภาษาที่วัยของเขาเข้าใจกันเอง อย่างที่วัยรุ่นเขาจะเขียนตามสะดวก เช่น คำว่า หนู ก็เขียนเป็น นู๋ บางครั้งใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ แต่เติมวรรณยุกต์ไทย เป็น NUู๋ ตามหลักของอักษรไตรยางค์ ต้องมีอักษรนำคือ ‘ห’ จึงจะสามารถผันเสียงวรรณยุกต์ได้
ヂュラーロンゴーン大学文学部タイ語学科のスガンヤー・スッチャーヤー講師は、若者たちが教科書通りに書かないのはファッションであり、自分たちが書きやすいように工夫した結果という。たとえば「ヌー」という語は基礎三群母声どおりに引字( ห )を付けることで正確に発音できるようになるが、若者たちは「ヌゥ」や「 NUู๋ 」と書く。
“ตอนนี้พบมากที่เด็กใช้ภาษาแบบกันเอง โดยเฉพาะในห้องสนทนา(Chat) ทางอินเตอร์เน็ต ที่ต้องพิมพ์เร็ว ภาษาที่ใช้จะเป็นแบบย่นย่อ ผสมผสานไทยบ้าง-อังกฤษบ้าง แต่หากเขียนบ่อยเข้าจนเป็นความเคยชินจนติดเป็นนิสัยและใช้กันแพร่หลาย เด็กไทยอาจลืมหลักไวยากรณ์ของภาษาที่ถูกต้องได้” อาจารย์สุกัญญาชี้ถึงพฤติกรรมเด็กรุ่ นใหม่
「素早く入力する必要があるため、インターネットのチャットルームでは略語とタイ語と英語の混成語など若者独自の言葉がよく見られる。しかし頻繁に書いているうちにクセになって、それが伝播していく。タイ人の若者たちは本来の基礎的な文法を忘れてしまうかもしれない」とスガンヤー講師は指摘した。
พร้อมกับเสริมว่า อุปกรณ์การขีดเขียนก็เป็นปัจจัยหนึ่งในการส่งเสริมลายมือ อย่างการใช้ปากกาหัวเล็กที่ทำให้เส้นบางเพียง 0.5 มิลลิเมตร ก็ทำให้ลายมือเด็กเหล่านี้เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งเลียนแบบจากตัวอักษรที่เขียนในการ์ตูนญี่ปุ่น เด็กไทยนิยมอ่านกันมาก ภาษาที่ใช้จะเป็นภาษาพูด หากเด็กยึดเอาการ์ตูนเป็นต้นแบบจะไม่ได้หลักของภาษาเขียนและตัวอักษรไทยที่ดี
筆記用具は手書き書体の変化を推し進める要因の一つとなっている。ペン先5ミリのボールペンを使って、若者たちに人気の日本の漫画本を真似れば、書体もとうぜん変わってくる。使っている言葉は口語になる。しかしその元凶となる漫画本を若者たちから取り上げたところで文語や書体のベースにはならない。
ส่วน นางกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา อธิบดีกรมสามัญศึกษา และว่าที่ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ บอกว่า เรื่องนี้คงไม่ใช่ปัญหาใหญ่เท่ากับการเขียนหนังสือของเด็กไทยให้ถูกต้องตามหลักภาษาไทย พบมากว่านักเรียนมีปัญหาเรื่องนี้อยู่ กรมสามัญศึกษาจะให้ครูสอนวิชาภาษาไทยเน้นการเขียนให้ถูกหลักไวยากรณ์ก่อน ส่วนเรื่องลายมือคิดว่าต่อไปเด็กทุกคนจะต้องพัฒนาลายมือของตนให้ดีขึ้น
一方、義務教育局のゴッサマー・ウォンラワン・ナアユッタヤー局長(教育省次官)は、「この問題は子供たちに文法通りのタイ語を正しく書かせることに比べればそれほどの問題ではない。このような問題を抱えている子供たちはたくさんいるが、義務教育局は正しい文法にしたがってタイ語を書かせることに重点を置いて教育するよう教師たちを指導している。手書き書体については、すべての子供たちが自ら改善していくものと考えている」と語った。
เนื่องจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี เน้นสัดส่วนการสอบอัตนัยมากกว่าสอบปรนัยที่ให้เด็กกากบาท ถ้าเด็กคนใดเขียนด้วยลายมือไม่ดีก็จะมีปัญหากับการตรวจข้อสอบและมีผลต่อคะแนน ทำให้ทุกคนต้องเขียนด้วยลายมือที่ดี
基礎教育の12年間では、選択問題より配点の高い論述問題を子供たちに選択させている。もし問題となっている書体で解答すれば、採点と試験結果に悪影響をもたらす。だからみんな良い書体で書かざるを得なくなる。
ขณะที่เราก็เปิดโอกาสฟังเสียงของเด็กรุ่นใหม่ อย่าง ด.ญ.ลัคณา เล็กเมือง วัย 12 ปี บอกว่า เด็กสมัยนี้หัดเขียนตัวหนังสือแบบในการ์ตูนกันมาก ทั้งที่จริงเราฝึกคัดลายมือตัวบรรจงของไทยคัดมาแล้วตั้งแต่สมัยเด็ก พอเห็นเพื่อนพยายามคัดลายมือให้เป็นเหมือนในนั้น เพราะดูทันสมัย มีหลายคนที่เขียนก็เลยเขียนตามกัน
わたしたちは若者たちの声を聞く機会を設けた。ラッカナー・レックムアングさん(12歳)は、「若者たちは漫画の書体を練習している。楷書体の練習をしてきた事実もありますが、みんな流行に乗るために小さい頃から漫画書体を書けるよう努力してきたんです」と語った。
หรือ ด.ญ.จารุวรรณ เสนาคำ บอกว่า คัดตัวหนังสือไทยดูสวยกว่า แต่ตัวหนังสือแบบนี้ดูแล้วเป็นรุ่นใหม่กว่า หนูยังเด็กยังต้องฝึกคัดลายมืออยู่ แต่ไม่พยายามฝึกเขียนตามแบบที่นิยม
ヂャールワン・セーンカムさんは、「書き出しの円形部分は、ないほうがキレイだし、その書体が若者風なんです。まだ子供で、手書き書体を練習しなければなりません。流行どおりに練習しないようにします」と語った。
โตขึ้นมาหน่อยอย่าง นายกฤษฎา โยธขัน บอกว่า ชอบตัวหนังสือแบบที่เขียนในการ์ตูนมากกว่า บางคนบอกว่าอ่านยาก แต่ถ้าเขียนด้วยตัวสะอาดก็สามารถอ่านออกได้ไม่ยาก อาจารย์จะมีแบบฝึกหัดคัดไทยมาให้ แต่ลายมือแบบนั้นจะเขียนช้ากว่าแบบใหม่
すこし年上のクリッサダー・ヨータカンさんは、「漫画書体のほうが好きです。読みにくいという人もいますが、キレイに書けば読むのは難しくありません。学校で教わった書体は新書体で書くより時間がかかるんです」と語った。
จบท้ายกับอาจารย์สอนภาษาไทย นางพิชญา ศรีสวัสดิ์ โรงเรียนสวนลุมพินี บอกว่า เรื่องลายมือถือเป็นเรื่องพบเป็นประจำ อาจารย์สอนภาษาไทยมีการออกแบบฝึกหัดคัดลายมือเป็นแผ่นให้นักเรียนฝึกคัดก่อน ซึ่งความยากง่ายแล้วแต่ระดับอายุของเด็ก หลายครั้งเด็กมักเขียนตัวอักษรลักษณะคล้ายกัน เพราะเขาเห็นรุ่นพี่เขียนก็จะเลียนแบบตาม เขียนจนติดเป็นนิสัย
スワンルンピニー学校のタイ語講師ピッチャヤー・スィーサワットさんは、「手書き書体についてはよく問題になります。タイ語教師はタイ文字練習帳を使って子供たちにライティングを教えていますが学年によって難易度は異なります。先輩の真似をしてクセになっているため、たいてい子供たちは似たような字を書きます」と語った。
日本でも数年前に若者言葉が問題になっていたけれど、タイでは言葉だけでなく書体も問題になっている。ちなみに本文中に登場する「日本の漫画本」(定価35バーツ)は、街中に無数にある漫画本屋で4バーツ(1泊2日)で借りることができるため、タイ人にとっては日本人以上に身近な存在となっている。
僕の書体もかなり若者化している。いちいち円形部分を書いていたら時間がかかりすぎてかなわない。