遺跡探訪の旅2日目 ピマーイ宮殿

きょうは、昨晩午前3時まで同室のカンボジア人と語り合っていたためひどい睡眠不足だった。猛暑の影響をモロに受けてフラフラになりながら、ピマーイ遺跡と附属博物館で聞いても分かるはずのない専門的な話を聞いた。予定より1時間半遅い午後7時半にパヤータイ通りのヂュラーロンゴーン大学前に到着。季節外れに雨のなか、すぐに解散してタクシーで帰宅した。

วันที่สองของการเดินทาง วันพฤหัสสบดีที่ 19 มีนาคม 2547 (ปราสาทหินพิมาย – กรุงเทพฯ)
旅程第2日目 2547年3月19日 (ピマーイ石造遺跡宮殿 – バンコク)

07.00 น. รับประทานอาหารเช้าในโรงแรม
ホテルで朝食

09.00 น. นำท่านเดินทางสู่ อ.พิมาย นำชมแหล่งโบราณคดีที่ทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์ “ปราสาทหินพิมาย” ปราสาทหินที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย สัมผัสกับความงดงามอันเป็นแม่แบบให้ดับนครวัดในเขมร และลวดลายที่สลักบนทับลังและหน้าบันของปราสาท
ピマーイ石造宮殿へ。タイ国内最大の石造宮殿で歴史的貴重とされている古典の舞台であり、またカンボジア国内の寺院都市の原型となった。宮殿の紅土壁面の表裏には精細な細工が施されている。

11.00 น. แล้วนำท่านเข้าชม พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพิมาย ชมศิลปะโบราณวัตถุประเภทต่าง ๆ ที่จังแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับความเจริญรุ่งเรื่องของวัฒนธรรมอีสานในอดีต โบราณวัตถุสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่นำมาจัดแสดงได้แก่ เครื่องปั้นดินเผาโบราณโครงกระดูก เรื่องมือ เครื่องประดับที่ทำจากสำริดและหิน โดยเฉพาะที่ค้นที่พบปราสาทหินพิมาย เช่น ทับหลังหน้าบัน เสาประดับหรอบประตู ทวารบาล และประติมากรรมรูปเคารพ อาทิ พระพุทธรูป เทวรูป รูปพระโพธิสัตว์ แบะรูปสลักศิลาพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เป็นต้น
その後、ピマーイ国立史跡資料館へ。古代イサーン地方における文化的繁栄を示す多種多様な古典芸術のほか、ピマーイ遺跡宮殿で見つかったリンテルやその後ろに置く装飾品、門神像、造形芸術(仏像、女神像、動物神像、ジャヤバルマン7世石像など)に代表されるような、古典的火葬釜、道具、青銅や石で作られた装飾品をご覧いただけます。

12.30 น. รับประทานอาหารกลางวัน ณ ร้านอาหารใบเตย (หน้าปราสาทหินพิมาย) หลังอาหารนำท่านเดินทางกลับสู่กรุงเทพฯ ระหว่างทางแวะช้อปปิ้งเลือกชื้อสินด้าได้ตามอัธยาศัย
昼食後、ピマーイ遺跡宮殿前の食堂「バイトーイ」での昼食後、バンコクへ。帰途、ショッピングのために停車し、自由行動でお土産を選べます。

18.00 น. ถึงกรุงเทพฯ โดยสวัสดิภาพ
無事にバンコクに到着

ABOUTこの記事をかいた人

バンコク留学生日記の筆者。タイ国立チュラロンコーン大学文学部のタイ語集中講座、インテンシブタイ・プログラムを修了(2003年)。同大学の大学院で東南アジア学を専攻。文学修士(2006年)。現在は機械メーカーで労働組合の執行委員長を務めるかたわら、海外拠点向けの輸出貿易を担当。